กาทำงานของดิสก์ไดร์ฟ (Disk Drive)
เครื่องจานแม่เหล็ก (disk drive) เป็นเครื่องที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลบนจานแม่เหล็ก มีหลักการทำงานคล้ายเครื่องเล่นจานเสียงธรรมดาทั่ว ๆ ไป แต่แทนที่จะมีเข็มกลับมีหัวอ่านและหรือหัวบันทึก (read-write head) คล้ายเครื่องแถบแม่เหล็กที่เคลื่อนที่เข้าออกได้ เครื่องจานแม่เหล็ก มีสองแบบ คือ แบบจานติดอยู่กับเครื่อง (fixed disk) และแบบยกจานออกเปลี่ยนได้ (removable disk)
จานแม่เหล็กส่วนใหญ่ทำด้วยพลาสติก มีรูปร่างเป็นจานกลมคล้ายจานเสียงธรรมดา แต่ฉาบผิวทั้งสองข้างด้วยสารแม่เหล็กเฟอรัสออกไซด์ การบันทึกทำบนผิวของสารแม่เหล็กแทนที่จะเซาะเป็นร่องเล็ก ๆ การอ่านและการบันทึกข้อมูลกระทำโดยใช้หัวอ่านที่ติดตั้งไว้บนแผงที่สามารถเลื่อนเข้าออกได้
ข้อมูลจะถูกบันทึกไว้บนรอยทางวงกลมบนผิวจานซึ่งมีจำนวนต่าง ๆ เช่น 100-500 รอยทาง ขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลางของจานมีตั้งแต่ 1-3 ฟุต สามารถบันทึกตัวอักษรได้หลายล้านตัวอักษร การบันทึกใช้บันทึกทีละบิตโดยใช้แปดบิตต่อหนึ่งไบต์ จานแม่เหล็กหมุนเร็วประมาณ 1,500-1,800 รอบต่อนาที สามารถค้นหาข้อมูลด้วยเวลาเ ฉลี่ยประมาณ 50 มิลลิวินาที สามารถย้ายข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงถึง 320,000 ไบต์ต่อวินาที ขอให้เราสังเกตว่า
เวลาเฉลี่ยเหล่านี้เป็นเวลาที่ช้ากว่าเครื่องรุ่นใหม่ ๆ มากถ้าต้องการเก็บข้อมูลจำนวนมาก เขาจะใช้จานแม่เหล็กที่มีจำนวน 2 หรือ 6 หรือ 12 จานมาติดตั้งซ้อนกันตามแนวดิ่ง รวมกันเป็นหนึ่งหน่วย เรียกว่า ดิสก์แพ็ค (disk pack) ซึ่งเราสามารถยกดิสก์แพ็คเข้าออกจากเครื่องได้ การทำเช่นนี้ ทำให้จานแม่เหล็กสามารถทำหน้าที่คล้ายแถบแม่เหล็ก
เวลาเฉลี่ยเหล่านี้เป็นเวลาที่ช้ากว่าเครื่องรุ่นใหม่ ๆ มากถ้าต้องการเก็บข้อมูลจำนวนมาก เขาจะใช้จานแม่เหล็กที่มีจำนวน 2 หรือ 6 หรือ 12 จานมาติดตั้งซ้อนกันตามแนวดิ่ง รวมกันเป็นหนึ่งหน่วย เรียกว่า ดิสก์แพ็ค (disk pack) ซึ่งเราสามารถยกดิสก์แพ็คเข้าออกจากเครื่องได้ การทำเช่นนี้ ทำให้จานแม่เหล็กสามารถทำหน้าที่คล้ายแถบแม่เหล็ก
เป็นไดร์ฟที่ใช้สำหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอมเพียงอย่างเดียว ส่วนใหญ่จะใช้งานในด้านการติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมต่าง ๆ รวมไปถึงงานที่เกี่ยวกับความบันเทิง เช่น ดูหนัง ฟังเพลง และงานด้านมัลติมีเดียด้วย โดยมีหน่วยความเร็วในการอ่านข้อมูลเป็น X เช่น 48X 50X หรือ 52X เป็นต้น
ไดร์ฟที่ใช้สำหรับบันทึกข้อมูลที่เราต้องการลงแผ่นซีดีรอมได้เรียกว่า ซีดีไรท์เตอร์ไดร์ฟซึ่งสามารถ ใช้เขียนข้อมูลทุกอย่างที่เราต้องการลงบนแผ่นซีดีอาร์ และแผ่นซีดีอาร์ดับบลิว
เป็นไดร์ฟที่ใช้สำหรับอ่านแผ่นดีวีดีรอม ซึ่งมีขนาดและลักษณะคล้ายกับแผ่นซีดีรอม แต่มีความจุมากกว่าแผ่นซีดีรอมถึงประมาณ 7 – 25 เท่าขึ้นไป
ทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กำลังทำงานอยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการนำเข้าข้อมูล (Input) หรือ การนำออกข้อมูล (Output) โดยที่เนื้อที่ของหน่วยความจำหลักแบบแรมนี้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ
1. Input Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนำเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้าโดย ข้อมูลนี้จะถูกนำไปใช้ในการประมวลผลต่อไป
2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล
3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออก ยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ
4. Program Storage Area เป็นส่วนที่ใช้เก็บชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่งเข้ามา เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคำสั่ง ชุดดังกล่าว หน่วยควบคุมจะทำหน้าที่ดึงคำสั่งจากส่วน นี้ไปที่ละคำสั่งเพื่อทำการแปลความหมาย ว่าคำสั่งนั้นสังให้ทำอะไร จากนั้นหน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ที่ต้องการทำงานดังกล่าวให้ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ
สามารถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่จำเป็นต้องมีไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะไม่สูญหาย ดังนั้น Hard Disk จึงถูกจัดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บระบบปฏิบัติการ โปรแกรม และข้อมูลต่าง ๆ เนื่องจาก Hard Disk เป็นอุปกรณ์ที่ง่ายต่อการอัพเกรดทำให้เทคโนโลยี Hard Disk ในปัจจุบันได้พัฒนาอย่างรวดเร็ว ฉะนั้นการเลือกซื้อ Hard Disk จึงควรคำนึงซึ่งประสิทธิภาพที่จะได้รับจาก Hard Disk
แป้นพิมพ์ที่มีไว้เพื่อเป็นแป้นพิมพ์คำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ได้แก่
Enter เป็นแป้นที่กดเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับคำสั่งไปปฏิบัติตามที่ต้องการ แป้นนี้เดิมชื่อ Carriage Return เปลี่ยนมาเป็น Enter ในยุคของเครื่องพีซี มีทั้งในแป้นตัวอักษรและแป้นตัวเลข ใช้ได้กับกดเพื่อขึ้นบรรทัดใหม่
Escape กดเพื่อยกเลิกการทำงานเดิมหรือจบการเล่นเกม การกดแป้นจะยกเลิกคำสั่งที่กำลังใช้งานย้อนกลับไปที่คำสั่งก่อนหน่วย
Tiled สำหรับกดเปลี่ยนไปมาระหว่าภาษาไทยกับกาษาอังกฤษ
Caps Lock สำหรับยกแคร่ค้างไว้เพื่อพิมพ์อักษรแบบตัวพิมพ์ใหญ่ เมื่อกดแป้นนี้ ไฟบอกสภาวะ ทางขวามือจะติด ดังนั้น ถ้าการพิมพ์อักษรมีปัญหา ให้ดูว่าแป้นนี้ถูกกดค้างไว้หรือไม่
Shift แป้นยกแคร่ กดค้างไว้แล้วพิมพ์ ถ้าแป้นพิมพ์อักษรที่มีสองตัวบนล่างกดแป้นนี้เพื่อพิมพ์ตัวอักษรบน ถ้าเป็นอักษรภาษาอังกฤษที่มีตัวเดียว กดเพื่อพิมพ์เป็นตัวพิมพ์ใหญ่
Ctrl แป้นควบคุมกดค้างไว้แล้วกดอักษรตัวอื่นเพื่อให้เกิดการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น Ctrl+Alt+Delete เป็นการรีเซ็ทเครื่องใหม่, Ctrl + B ทำตัวอักษรหนา เป็นต้น
Tab ใช้กด เพื่อเลื่อน 1 ย่อหน้า
Space bar ใช้กดเพื่อเว้นวรรค
Alternate กดคู่กับแป้นอื่น ๆ เพื่อทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น Alt+X คือจบเกม Ctrl + Alt + Delete รีเซ็ทเครื่องเหมือนการกดปุ่ม Reset
Backspace แป้นเลื่อนถอยหลัง กดเพื่อย้อนกลับไปทางซ้ายสำหรับพิมพ์ และลบตัวอักษรทางซ้ายทีเลื่อนไปแป้นควบคุม เป็นแป้นลูกศรชี้ไปทางซ้าย ขวา บน ล่าง สำหรับควบคุมการเลื่อนตำแหน่งไปมาบนจอภาพ
Insert แทรกอักษร กดเพื่อกำหนดสภาวะพิมพ์แทรก หรือพิมพ์ทับ การทำงานปกติเป็นการพิมพ์แทรก
Delete กดเพื่อลบอักษรที่ Cursor ทับอยู่ หรือลบตัวที่อยู่ทางขวาของจุดแทรก (Cursor) เมื่อลบแล้วจะดึงอักษรทางขวามือมาแทนที
Home กดเพื่อเลื่อนการทำงานไปยังตำแหน่งแรกของบรรทัดที่กำลังพิมพ์งานอยู่
End กดเพื่อกระโดดไปยังอักษรตัวสุดท้ายทางขวาของบรรทัดที่กำลังพิมพ์งานอยู่
Page Up กดเพื่อเลื่อนจอภาพขึ้นไปดูข้อความด้านบน
Page Down กดเพื่อจอภาพลงไปด้านล่าง
Num Lock กดเพื่อใช้แป้นตัวเลขทางขวา เมื่อกดแล้วไฟบอกสภาวะจะติด ถ้าไม่เปิด แป้น Num Lock เป็นการใช้แป้นอักขระตัวล่างที่อยู่ในแป้นตัวเล่น
Print Screen กดเพื่อพิมพ์ข้อความที่เห็นบนจอภาพออกทางเครื่องพิมพ์
Scroll Lock กดเพื่อล็อกบรรทัดที่กำลังพิมพ์งานไม่ให้เลื่อนบรรทัด ถึงแม้จะกดแป้น Enter ก็ไม่มีผล เมื่อกดแล้วไฟบอกสภาวะจะติด
Break หรือ Pause กดเพื่อหยุดการทำงานชั่วคราวยกเลิกโดยกดแป้นอื่น ๆ อีกครั้ง
การทำงานและหน้าที่ของเมาส์
เมาส์ (อังกฤษ: mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมตัว ชี้บนจอคอมพิวเตอร์ mouse pointerเป็นอุปกรณ์สำคัญในการใช ้งานคอมพิวเตอร์ชิ้นหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันถูกออกแบบมาให้มีรู ปร่าง ลักษณะ สีสรร ต่างๆกัน บางรุ่นมีไฟประดับให้สวยงาม เพื่อให้เมาะสมกับการใช้งานในแต ่ละประเภทและความชื่นชอบของผู้ใ ช้ เช่นมีขนาดเล็ก มีส่วนโค้งและส่วนเว้าเข้ากับอุ ้งมือของผู้ใช้ มีรูปร่างสีสรรแปลกตาไปจากรุ่นท ั่วๆไป หรือเป็นรูปตัวการ์ตูน และล่าสุดได้มีการพัฒนา เมาส์อากาศ Air Mouse ซึ่งสามารถใช้งานเมาส์โดยถือขึ้ นมาเอียงไปมาในอากาศโดยไม่จำเป็ นต้องใช้แผ่นรอง ก็สามารถควบคุมตัวชี้ได้เช่นกัน
การทำงานของเมาส์ ภายในตัวเมาส์จะมีอุปกรณ์สำหรับ ตรวจจับตำแหน่งการเคลื่อนไหวของ ลูกกลิ้งยาง(ในรุ่นเก่า)หรืออุป กรณ์ตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของแส ง (ในเมาส์ที่ใช้แอลอีดีหรือเลเซอ ร์เป็นแหล่งกำเนิดแสง) โดยตัวตรวจจับจะส่งสัญญาณไปที่ค อมพิวเตอร์เพื่อแสดงผลของตัวชี้ บนหน้าจอคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ การใช้งานเมาส์ร่วมกับเครื่องคอ มพิวเตอร์นั้นจะต้องมีการต่อมัน เข้ากับช่องต่อของคอมพิวเตอร์ ซึ่งในยุคแรกๆนั้นช่องสำหรับต่อ เมาส์จะมีลักษณะเป็นหัวกลมใหญ่ภ ายในมีขาเป็นเข็มเรียกว่าแบบ DIN ต่อมามีการพัฒนาช่องต่อเป็นแบบห ัวเข็มที่เล็กลงเรียกว่า PS2 แต่การเชื่อมต่อทั้งสองแบบนั้นไ ม่สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลา กหลาย จึงมีการพัฒนาช่องต่อแบบ USB ขึ้นมา และในเวลาใกล้ๆกันก็ได้มีการพัฒ นาการเชื่อมต่อเมาส์แบบไร้สายขึ ้นมาโดยใช้สัญญานวิทยาเป็นตัวเช ื่อมต่อแทนสายเรียกว่า Wireless mouse
เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัว มันเอง และสายไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายหนูเมาส์และหา งหนู และขณะเดียวการเคลื่อนที่ของตัว ชี้บนหน้าจอมีลักษณะการเคลื่อนท ี่ไม่มีทิศทางเหมือนการเคลื่อนท ี่ของหนู
เมาส์ (อังกฤษ: mouse) คืออุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมตัว
การทำงานของเมาส์ ภายในตัวเมาส์จะมีอุปกรณ์สำหรับ
การเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์
เมาส์ได้ชื่อมาจากรูปร่างของตัว
ลักษณะการทำงานของเมาส์
1: เมื่อเคลื่อนเมาส์ ลูกบอลด้านล่างจะหมุน
2: จานหมุนสองแนว จับการเคลื่อนไหวของลูกบอล
3: เมื่อจานหมุนทำการหมุน รูบริเวณขอบจานหมุนหมุนตาม
4: แสงอินฟราเรด ส่งผ่านรูจานหมุน
5: เซนเซอร์อ่านค่า และส่งเป็นค่าของความเร็วการเคล ื่อนไหวในแนวแกน X และแกน Y
1: เมื่อเคลื่อนเมาส์ ลูกบอลด้านล่างจะหมุน
2: จานหมุนสองแนว จับการเคลื่อนไหวของลูกบอล
3: เมื่อจานหมุนทำการหมุน รูบริเวณขอบจานหมุนหมุนตาม
4: แสงอินฟราเรด ส่งผ่านรูจานหมุน
5: เซนเซอร์อ่านค่า และส่งเป็นค่าของความเร็วการเคล
กานทำงานของการ์ดจอ (Graphic Card)
ใช้สำหรับใส่การ์ดจอบนเมนบอร์ด(Mainboard) หลักๆ มีอยู่ 2 แบบ คือAGP(Accelerate Graphic Port) และสล็อต PCI Express x16 ลักษณะของทั้ง 2 สล็อตนี้จะมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ซึ่งเมนบอร์ดรุ่นใหม่จะนิยมใช้สล็อต PCI Express x16 ทั้งหมดแล้ว เพราะว่าประสิทธิภาพในการรับ/ส่งข้อมูลระดับ 4GB/s ซึ่งสูงกว่า AGP 8x ถึง 2 เท่า
กานทำงานจอภาพ (Monitor)
ทำหน้าที่นำข้อมูลจากหน่วยประมวลผล มาแปลงเป็นสัญญาณภาพ แล้วส่งให้จอภาพแสดงผลปัจจุบันมีการพัฒนาจอภาพออกมาหลากหลายลักษณะ โดยเน้นที่จำนวนสี ความละเอียด ความคมชัด การประหยัดพลังงาน โดยสามารถแบ่งประเภทจอภาพ ที่ใช้ในปัจจุบันได้กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
การทำงานเมนบอร์ด (Mainboard)ทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมาย เมนบอร์ดที่ใช้งานในปัจจุบันนั้นส่วนใหญ่เป็นแบบ ATX เกือบทั้งหมดแล้ว เทคโนโลยีของเมนบอร์ดเองก็ได้มีการพัฒนาไปมากเช่นกัน ซึ่งมีเทคโนโลยีเข้ามาในการเพิมประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้น มีสีสันที่สวยงามโดยเฉพาะคนที่ชอบแต่งเครื่องของตัวเองจะเลือกสีสันที่มีความสวยงามการทำงานของ CPU
หลักการทำงานของ CPUโดยวงรอบของการทำคำสั่งของซีพียูประกอบด้วยขั้นตอนการทำงานพื้นฐาน 4 ขั้นตอนดังนี้
1. ขั้นตอนการรับเข้าข้อมูล ( fatch )เริ่มแรกหน่วยควบคุมรับรหัสคำสั่งและข้อมูลที่จะประมวลผลจากหน่วยความจำ
2. ขั้นตอนการถอดรหัส ( decode )
เมื่อรหัสคำสั่งเข้ามาอยู่ในซีพียูแล้ว หน่วยควบคุมจะถอดรหัสคำสั่งแล้วส่งคำสั่งและข้อมูลไปยังหน่วยคำนวณและตรรกะ
3. ขั้นตอนการทำงาน ( execute )
หน่วยคำนวณและตรรกะทำการคำนวณโดยใช้ข้อมูลที่ได้รับการถอดรหัสคำสั่ง และทราบแล้วว่าต้องการทำอะไร ซีพียูก็จะทำตามคำสั่งนั้น
4. ขั้นตอนการเก็บ ( store )
หลังจากทำคำสั่ง ก็จะเก็บผลลัพธ์ที่ได้ไว้ในหน่วยความจำ การทำงานของเคส (CASE)ใช้สำหรับบรรจุอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์หลักของคอมพิวเตอร์เอาไว้ข้างใน เช่น CPU เมนบอร์ด การ์ดจอฮาร์ดดิสก์ พัดลมระบายความร้อน และที่ขาดไม่ได้ก็คือ Power Supply ซึ่งจะมีติดอยู่ในเคสเรียบร้อย เคสคอมพิวเตอร์ควรเลือกที่รูปทรงสูงๆ เพื่อจะได้ติดตั้งอุปกรณ์ได้ง่าย และควรเลือกเคสที่มีช่องสำหรับติดตั้งฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ เผื่อเอาไว้หลายๆ ช่อง ในกรณีที่ต้องการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมในภายหลังจะได้ง่ายขึ้น |
No comments:
Post a Comment